France

Mariage en Thaïlande, Mariage en thaïlande pour français

DOCUMENTS A FOURNIR EN VUE DE L’OBTENTION D’UN

CERTIFICAT DE CAPACITE A MARIAGE
  • Futur(e) conjoint(e) de nationalité française
  • copie intégrale d’acte de naissance délivrée depuis moins de 3 mois ( Veuillezprésenter l’original )
  • présentation du passeport, une photocopie couleur pourra être demandée
  • présentation de la carte d’identité (facultative), une photocopie couleur pourra être demandée en cas de veuvage, copie intégrale de l’acte de décès du précédent conjoint
    justificatif de domicile (par ex : facture, avis d’imposition, attestation de l’hébergeant avec copie de sa pièce
    d’identité …).
  • Attention, pour toute personne ayant une adresse à l’étranger, votre domicile sera justifié par une attestation de
    résidence ou certificat d’inscription de l’ambassade de France de votre pays de résidence (pour plus
    d’informations, renseignez-vous auprès de votre ambassade). Merci de présenter votre carte consulaire.

รายการเอกสารสำหรับคนไทย

  1. บัตรประชาชนตัวจริง
  2. ทะเบียนบ้านตัวจริง หรือ ฉบับคัดสำเนาที่ได้รับการรับรองจากสำนักงานเขตหรืออำเภอ
  3. สูติบัตร (กรณีสูญหายให้คัดสำเนา ต้นขั้วจากอำเภอ ฉบับที่เรียกว่า สูติบัตรตอน 2) (กรณีค้นหาที่ต้นขั้วแล้วไม่พบ ให้นำผู้ใหญ่บ้าน , พ่อแม่ , พยานผู้รู้เห็นการเกิด ไปสอบ ปค.14 ที่อำเภอ แจ้งเจ้าหน้าที่ว่า มาขอสอบ ทร.22 (หนังสือรับรองการเกิด))
  4. ใบเปลี่ยนชื่อ หรือ ใบเปลี่ยนนามสกุล (ถ้ามี)
  5. ใบเปลี่ยนชื่อ หรือ นามสกุลของบิดามารดา (กรณีที่ชื่อปัจจุบันของบิดามารดา ไม่ต้องกับสูติบัตร)
  6. ใบสำคัญการหย่า คร.7, ทะเเบียนการหย่า คร.6 (กรณีที่หย่าร้าง)
  7. ใบมรณบัตรคู่สมรสเดิม (กรณีที่เป็น หญิงม่าย (หม้าย))  
    ทั้งกรณีที่หย่าร้างหรือเป็นม่าย จะต้องกลับไปใช้นามสกุลเดิมของต้นเองและต้องเปลี่ยนบัตรประชาชนให้เรียบร้อยจึงจะจดทะเบียนสมรสใหม่ได้